วันศุกร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

เก็งข้อสอบนักธรรมโท ประจำปี ๒๕๕๘

จัดทำโดยพระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ
สรุปเก็ง ธรรมวิภาค (น.ธ.โท) ประจำปี ๒๕๕๘

หมวด ๒
อริยบุคคล ๒                                        
พระเสขะ     พระผู้ยังต้องศึกษา
พระอเสขะ    พระผู้ไม่ต้องศึกษา      
                                                   
พระอริยบุคคล ๔ บุคคลผู้ประเสริฐ
. พระโสดาบัน ผู้แรกเข้าถึงกระแสพระนิพพาน (ละสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาสได้ ขาด)
. พระสกทาคามี ผู้กลับมาสู่โลกนอี ี้กครัง้ เดียว (ละสังโยชน์ได้ ๓ ประการเหมือนพระโสดาบันแล้วยัง บรรเทา ราคะ โทสะ โมหะ ให้เบาบางได้ด้วย)
. พระอนาคามี ผู้ไม่กลับมาสู่โลกนอี ี้ก (ละกามราคะ และปฏิฆะได้ขาด)
. พระอรหันต์ ผู้ห่างไกลจากกิเลส (ละรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชาได้ขาด)

 พระอริยบุคคล ๘ ผู้บรรลุโลกุตรธรรม
. พระโสดาปัตติมรรค    . พระโสดาปัตติผล
. พระสกทาคามิมรรค   . พระสกทาคามิผล
. พระอนาคามิมรรค     . พระอนาคามิผล
. พระอรหัตตมรรค      . พระอรหัตตผล

 โสดาบัน ๓ พระอริยบุคคลผู้ได้บรรลุอริยผลขั้นแรก
. เอกพีชี พระโสดาบันผู้จะเกิดอีก ๑ ชาติเป็นอย่างยิ่ง
. โกลังโกละ พระโสดาบันผู้จะเกิดอีก ๒-๓ ชาติเป็นอย่างยิ่ง
. สัตตักขัตตุปรมะ พระโสดาบันผู้จะเกิดอีก ๗ ชาติเป็นอย่างยิ่ง

แนวคำถาม
(ปี 2554) ในอริยบุคคล ๒ พระเสขะผู้ยังต้องศึกษา คือศึกษาเรื่องอะไร? ผู้ศึกษากาลังสอบธรรมอยู่นเี ้รียกว่าพระเสขะได้หรือไม่?
ตอบ คือศึกษา ในอธิสีล ในอธิจิต และในอธิปัญญา อีกอย่างหนงึ่ หมายถึงต้องศึกษาและต้องปฏิบัติเพื่อมรรคผลเบอื ้ ง
สูงขึน้ ไป ฯ ยังเรียกว่าพระเสขะไม่ได้ ถ้าไม่ใช่พระอริยบุคคล ๗ จาพวกเบอื ้ งต้น ฯ
(ปี 2554) คาว่า พระสงฆ์ ในบทสังฆคุณนัน้ ท่านประสงค์บุคคลเช่นไร? จงจาแนกมาดู
ตอบ ท่านประสงค์พระอริยบุคคล ๔ คู่ ๘ บุคคล ซงึ่ ล้วนแต่ท่านผู้ที่ตัง้ อยู่ในมรรคผลทัง้ สิน้ คือ พระโสดาปัตติมรรค พระโสดาปัตติผล คู่ ๑พระสกทาคามิมรรค พระสกทาคามิผล คู่ ๑พระอนาคามิมรรค พระอนาคามิผล คู่ ๑ พระอรหัตตมรรค พระอรหัตตผล คู่ ๑ ฯ
(ปี 2553) พระโสดาบัน แปลว่าอะไร ? หมายถึงพระอริยบุคคลผู้ละสังโยชน์อะไรได้ขาดบ้าง ?
ตอบ แปลว่าผู้แรกเข้าถึงกระแสพระนิพพาน ฯละสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาสได้ขาด ฯ
(ปี 2552) สังโยชน์คืออะไร พระโสดาบันละสังโยชน์อะไรได้ขาดบ้าง?
ตอบ คือ กิเลสอันผูกใจสัตว์ไว้ ละสังโยชน์ ๓ เบอืงต้นได้ขาด คือ
) สักกายทิฏฐิ            ๒) วิจิกิจฉา      ๓) สีลัพพตปรามาส ฯ
(ปี 2551) คาว่า พระโสดาบัน และ สัตตักขัตตุปรมะ มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ พระโสดาบัน คือพระอริยบุคคลผู้ได้บรรลุอริยผลขัน้ แรก ฯ สัตตักขัตตุปรมะ คือพระโสดาบันผู้จะเกิดอีก ๗ ชาติเป็นอย่างยิ่ง ฯ
(ปี 2550) พระเสขะ ผู้ยังต้องศึกษา คือศึกษาอะไร ? ชื่อว่าพระอเสขะ เพราะอะไร ?
ตอบ ศึกษาสิกขา ๓ คือ ๑. อธิสีลสิกขา ๒. อธิจิตตสิกขา ๓. อธิปัญญาสิกขา ฯ เพราะเสร็จกิจอันจะต้องทาแล้ว ฯ
(ปี 2550) พระอริยบุคคล ๔ ได้แก่ใครบ้าง ? พระโสดาบันละสังโยชน์อะไรได้บ้าง ?
ตอบ ได้แก่ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ ฯ
พระโสดาบันละสังโยชน์ได้ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ฯ
(ปี 2547) อริยบุคคล ๘ ได้แก่ใครบ้าง ? จัดเข้าในพระเสขะและพระอเสขะได้อย่างไร ?
ตอบ ได้แก่ พระผู้ตัง้ อยู่ในโสดาปัตติมรรค ๑พระผู้ตัง้ อยู่ในโสดาปัตติผล ๑
พระผู้ตัง้ อยู่ในสกทาคามิมรรค ๑พระผู้ตัง้ อยู่ในสกทาคามิผล ๑
พระผู้ตัง้ อยู่ในอนาคามิมรรค ๑พระผู้ตัง้ อยู่ในอนาคามิผล ๑
พระผู้ตัง้ อยู่ในอรหัตตมรรค ๑พระผู้ตัง้ อยู่ในอรหัตตผล ๑ ฯ
จัดเข้าได้อย่างนี้ อริยบุคคล ๗ ประเภทแรก เรียกว่า พระเสขะ อริยบุคคล ๑ ประเภทหลัง เรียกว่า พระอเสขะ ฯ
(ปี 2546) คาว่าโสดาบันแปลว่าอะไร ? พระอริยบุคคลชัน้ โสดาบันนี ้ท่านละกิเลสอะไรได้ขาดบ้าง ?
ตอบ โสดาบัน แปลว่า ผู้แรกถึงกระแสพระนิพพาน มีความไม่ตกต่าเป็นธรรมดา จะต้องตรัสรู้ในภายภาคหน้า ฯ
ท่านละสังโยชน์ได้ขาด ๓ อย่าง คือ
) สักกายทิฏฐิ            ๒) วิจิกิจฉา      ๓) สีลัพพตปรามาส ฯ

ปาพจน์ ๒ คาสอนอันเป็นหลักใหญ่ของพระพุทธเจ้า
๑. ธรรม หลักคาสอน
๒. วินัย บทบัญญัติ/ข้อห้าม
ปิฎก ๓ คัมภีร์ที่รวบรวมพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้ามี ๓ คัมภีร์ใหญ่ๆ คือ
๑. พระวินัยปิฎก ว่าด้วยเรื่องกฎระเบียบข้อบังคับที่นาความประพฤติให้สม่าเสมอกัน หรือเป็นเครื่องบริหารคณะ
๒. พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยคาสอนยกบุคคลเป็นที่ตัง้
๓. พระอภิธรรมปิ ฎก ว่าด้วยคาสอนยกธรรมล้วนๆ ไม่เจือด้วยสัตว์หรือบุคคลเป็นที่ตัง้

แนวคำถาม
(ปี 2552) ปิฎก ๓ ได้แก่อะไรบ้าง แต่ละปิฎกว่าด้วยเรื่องอะไร?
ตอบ ได้แก่พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก
พระวินัยปิฎก ว่าด้วยเรื่องกฎระเบียบข้อบังคับที่นาความประพฤติให้สม่าเสมอกัน หรือเป็นเครื่องบริหารคณะ
พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยคาสอนยกบุคคลเป็นที่ตัง้
พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยคาสอนยกธรรมล้วนๆ ไม่เจือด้วยสัตว์หรือบุคคลเป็นที่ตัง้ ฯ
(ปี 2550) ปาพจน์ ๒ ได้แก่อะไรบ้าง ? ถ้าแจกเป็น ๓ จะได้อะไรบ้าง ?
ตอบ ได้แก่ พระธรรม และ พระวินัย ฯ
ถ้าแจกเป็น ๓ จะได้ พระวินัย ๑ พระสูตร ๑ พระอภิธรรม ๑ ฯ

กาม ๒
๑. กิเลสกาม กิเลสเป็นเหตุใคร่ [ได้แก่ กิเลสให้ใคร่ คือ ราคะ โลภะ อิจฉา เป็นต้น]
๒. วัตถุกาม วัตถุอันน่าใคร่ [ได้แก่กามคุณ ๕ รูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ อันเป็นที่น่าปรารถนารักใคร่ ชอบใจ]
กามคุณ ๕  รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ

แนวคำถาม
(ปี 2544) กาม และ กามคุณ มีอธิบายอย่างไร ?  รูป เสียง กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ ทัง้ ๕ นี ้เพราะเหตุไรจึงเรียกว่า กามคุณ ?
ตอบ กาม ได้แก่ ความใคร่ ความน่าปรารถนา ความพอใจ แบ่งเป็น กิเลสกาม และวัตถุกาม  ส่วนกามคุณ ได้แก่อารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มี รูป เสียง กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ ซงึ่ เป็นวัตถุกามนนั่ เอง  เพราะเป็นกลุ่มแห่งกาม และเป็นสงิ่ ที่ให้เกิดความสุข ความพอใจได้

กรรมฐาน ๒ ที่ตงั้ ของการงาน หรือ อารมณ์อันเป็นที่ตงั้ แห่งการงาน
. สมถกรรมฐาน กรรมฐานเป็นอุบายสงบใจ
. วิปัสสนากรรมฐาน กรรมฐานเป็นอุบายเรืองปัญญา

แนวคำถาม
(ปี 2557) ตจปัญจกกัมมัฏฐาน มีอะไรบ้าง? เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร? เป็นอารมณ์ของสมถกัมมัฏฐานหรือของวิปัสสนากัมมัฏฐาน?
ตอบ มีเกสา ผม โลมา ขน นขา เล็บ ทนฺตา ฟัน และตโจ หนัง ฯ เรียกอีกอย่างว่ามูลกัมมัฏฐาน ฯ เป็นอารมณ์ได้ทัง้ สมถกัมมัฏฐาน และ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ
(ปี 2555) กัมมัฏฐานที่พระอุปัชฌาย์สอนแก่ผู้ขอบรรพชาอุปสมบทว่า เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา นัน้ เรียกชื่อว่าอะไร? เป็นสมถกัมมัฏฐานหรือวิปัสสนากัมมัฏฐาน?
ตอบ ชื่อว่า ตจปัญจกกรรมฐาน หรือมูลกัมมัฏฐาน ฯ เป็นได้ทัง้ สมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ
(ปี 2552) ตจปัญจกกัมมัฏฐานเรียกอีกอย่างหนงึ่ ว่าอะไร มีอะไรบ้าง จัดเป็นสมถกัมมัฏฐานหรือวิปัสสนากัมมัฏฐาน?
ตอบ เรียกอีกอย่างหนงึ่ ว่ามูลกัมมัฏฐาน มีเกสา ผม, โลมา ขน, นขา เล็บ, ทันตา ฟัน และตโจ หนัง เป็นได้ทัง้ สมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากรรมฐาน ฯ
(ปี 2549) มูลกัมมัฏฐาน คืออะไร ? เจริญอย่างไรเป็นอารมณ์ของสมถะ ? เจริญอย่างไรเป็นอารมณ์ของวิปัสสนา ?
ตอบ คือ กัมมัฏฐานเดิม ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ที่พระอุปัชฌาย์สอนก่อนบรรพชา ฯ ถ้าเพ่งกาหนดให้จิตสงบด้วยภาวนา จัดเป็นอารมณ์ของสมถะ ฯ ถ้ายกขึน้ พิจารณาแยกออกเป็นส่วนๆให้เห็นตามความเป็นจริงโดยสามัญลักษณะจัดเป็นอารมณ์ของวิปัสสนาฯ
(ปี 2548) ตจปัญจกกัมมัฏฐานได้แก่อะไรบ้าง ? จัดเป็นสมถะหรือวิปัสสนา ? จงอธิบาย
ตอบ ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทันตา และตโจ ฯ เป็นได้ทัง้ สมถะและวิปัสสนา ฯ  ถ้าเพ่งกาหนดยังจิตให้สงบด้วยภาวนาเป็นสมถะ  ถ้าเพ่งพิจารณาถึงความแปรปรวนเปลยี่ นแปลงไป หรือให้เห็นว่าเป็นทุกข์ คอื ทนอยู่ได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้องเสอื่ มสลาย ไปในที่สุด หรือให้เห็นว่าเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวตน พิจารณาเช่นนเี ้ป็นวิปัสสนา ฯ
(ปี 2547) ความรู้ชัน้ วิปัสสนาภาวนา หมายถึงความรู้อย่างไร ?
ตอบ หมายถึง ความรู้เท่าทันสภาวธรรมตามความเป็นจริง เห็นอาการแห่งสภาวธรรมโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ซึ่งเรียกว่าสามัญญลักษณะ ฯ

รูป ๒ สงิ่ ที่ต้องสลายไปเพราะเหตุปัจจัยต่างๆ ขัดแย้งกัน, สงิ่ ที่เป็นรูปร่างพร้อมทัง้ ลักษณะอาการของมัน
. มหาภูตรูป รูปใหญ่ ได้แก่ธาตุ ๔ มี ปฐวี อาโป เตโช วาโย
. อุปาทายรูป รูปอาศัยมหาภูตรูปนัน้ ฯ

แนวคำถาม
(ปี 2557) มหาภูตรูป คืออะไร? มีความเกี่ยวเนื่องกับอุปาทายรูปอย่างไร?
ตอบ คือรูปที่เป็นใหญ่เป็นประธาน อันประกอบด้วยธาตุ ๔ ได้แก่ดิน นา้ ไฟ ลม ฯ เป็นที่ตัง้ อาศัยแห่งอุปาทายรูปหรือรูปย่อย เมื่อรูปใหญ่แตกทาลายไป อุปาทายรูปที่อิงอาศัยมหาภูตรูปนัน้ ก็แตกทาลายไปด้วย ฯ
(ปี 2554) มหาภูตรูปและอุปาทายรูปคืออะไร?
ตอบ มหาภูตรูป คือ รูปใหญ่ ได้แก่ธาตุ ๔ มี ปฐวี อาโป เตโช วาโย  อุปาทายรูป คือรูปอาศัยมหาภูตรูปนัน้ ฯ
(ปี 2551) รูปในขันธ์ ๕ แบ่งเป็น ๒ ได้แก่อะไรบ้าง ? จงอธิบายมาสัน้ ๆ พอเข้าใจ
ตอบ ได้แก่ มหาภูตรูป และ อุปาทายรูป มหาภูตรูป คือ รูปใหญ่ อันได้แก่ ธาตุ ๔ มีดิน นา้ ไฟ ลม
อุปาทายรูป คือ รูปอาศัย เป็นอาการของมหาภูตรูป เช่น ประสาท ๕ มีจักขุประสาทเป็นต้น โคจร ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น ฯ
(ปี 2548) มหาภูตรูป คือ อะไร ? มีความเกี่ยวเนื่องกับอุปาทายรูปอย่างไร ?
ตอบ คือ รูปที่เป็นใหญ่เป็นประธาน อันประกอบด้วย ธาตุ ๔ ได้แก่ ดิน นา้ ไฟ ลม ฯ  เป็นที่ตัง้ อาศัยแห่งรูปย่อยซงึ่ เรียกว่าอุปาทายรูป เมื่อรูปใหญ่แตกทาลายไป อุปาทายรูปที่อิงอาศัยมหาภูตรูปนัน้ ก็แตก ทาลายไปด้วย ฯ

วิมุตติ ๒ ความหลุดพ้น
. เจโตวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งใจ
. ปัญญาวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งปัญญา
วิมุตติ ๕ ความทาจิตใจให้หลุดพ้นจากกิเลสาสวะ
. ตทังควิมุตติ หลุดพ้นด้วยองค์ธรรมนัน้ ๆ [พ้นชวั่ คราว]
. วิกขัมภนวิมุตติ หลุดพ้นด้วยข่มไว้ [พ้นด้วยสะกด]
. สมุจเฉทวิมุตติ หลุดพ้นด้วยการตัดขาด [พ้นด้วยเด็ดขาด]
. ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ หลุดพ้นด้วยความสงบ [พ้นด้วยสงบ]
. นิสสรณวิมุตติ หลุดพ้นด้วยการสลัดออก [พ้นด้วยออกไป]
วิโมกข์ ๓ ความที่จิตหลุดพ้นจากอานาจกิเลส
. สุญญตวิโมกข์ หลุดพ้นด้วยความว่าง (พิจารณาเห็นนามรูปโดยความเป็นอนัตตา)
. อนิมิตตวิโมกข์ หลุดพ้นด้วยไม่ถือนิมิต (พิจารณาเห็นนามรูปโดยความเป็นอนิจจัง)
. อัปปณิหิตวิโมกข์ หลุดพ้นด้วยไม่ทาความปรารถนา (พิจารณาเห็นนามรูปโดยความเป็นทุกข์)

แนวคำถาม
(ปี 2553) วิมุตติ กับ วิโมกข์ ต่างกันอย่างไร ? สมุจเฉทวิมุตติ มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ ต่างกันแต่โดยพยัญชนะ แต่ก็พ้นจาก ราคะ โทสะ โมหะได้เท่ากันโดยอรรถ ฯ มีอธิบายว่า ความพ้นจากกิเลสด้วยอานาจอริยมรรค กิเลสเหล่านัน้ ขาดเด็ดไป ไม่กลับเกิดอีก ฯ
(ปี 2551) เจโตวิมุตติ กับ ปัญญาวิมุตติ ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ เจโตวิมุตติ เป็นวิมุตติของท่านผู้ได้บรรลุฌานมาก่อนแล้ว จึงบาเพ็ญวิปัสสนาต่อ ส่วนปัญญาวิมุตติ เป็นวิมุตติของท่านผู้ได้บรรลุด้วยลา พังบาเพ็ญวิปัสสนาล้วน อีกนัยหนึ่ง เรียกเจโตวิมุตติเพราะพ้นจากราคะ เรียกปัญญาวิมุตติเพราะพ้นจากอวิชชา ฯ
(ปี 2550) วิโมกข์ คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?
ตอบ คือ ความพ้นจากกิเลส ฯ มี สุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ อัปปณิหิตวิโมกข์ ฯ
(ปี 2548) ในวิมุตติ ๕ วิมุตติอย่างไหนเป็นโลกิยะ อย่างไหนเป็นโลกุตตระ ?
ตอบ ตทังควิมุตติ และวิกขัมภนวิมุตติ จัดเป็นโลกิยวิมุตติ ส่วนสมุจเฉทวิมุตติ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ และนิสสรณวิมุตติ จัดเป็นโลกุตรวิมุตติ ฯ
(ปี 2547) วิมุตติ คืออะไร? ตทังควิมุตติ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ คือ ความทาจิตใจให้หลุดพ้นจากกิเลสาสวะ ฯ มีอธิบายว่า ความพ้นจากกิเลสได้ชวั่ คราว เช่นเกิดเหตุเป็นที่ตัง้ แห่งสังเวชขึน้ หายกาหนัดในกาม เกิดเมตตาขึน้ หายโกรธ แต่ความกาหนัดและความโกรธนัน้ ไม่หายทีเดียว ทาในใจถึงอารมณ์งาม ความกาหนัดกลับเกิดขึน้ อีก ทาในใจถึง
วัตถุแห่งอาฆาต ความโกรธกลับเกิดขึน้ อีก อย่างนจี ั้ดเป็นตทังควิมุตติ ฯ
(ปี 2545) วิมุตติคืออะไร ? วิมุตติ ๒ อย่าง มีอะไรบ้าง ? วิมุตติ ๒ กับวิมุตติ ๕ จัดเป็นโลกิยะและโลกุตตระอย่างไร ?
ตอบ คือความหลุดพ้น มี๑) เจโตวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งใจ
) ปัญญาวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งปัญญา ฯ
วิมุตติ ๒ เป็นโลกุตตระอย่างเดียว
ส่วนวิมุตติ ๕ เป็นได้ทัง้ โลกิยะและโลกุตตระ ฯ

ทิฏฐิ ๒ ความเห็นผิด
. สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเที่ยง
. อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ
ทิฏฐิ ๓ ความเห็นผิด
. อกิริยทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่เป็นอันทา
. อเหตุกทิฏฐิ ความเห็นว่าหาเหตุมิได้
. นัตถิกทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่มี

แนวคำถาม
(ปี 2556) ทิฏฐิ ที่หมายถึงความเห็นผิด ๒ อย่าง มีอะไรบ้าง?
ตอบ มี ๑. สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเที่ยง     ๒. อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ ฯ
(ปี 2550) ความเห็นว่าเที่ยงและเห็นว่าขาดสูญ คือเห็นอย่างไร ? มติในทางพระพุทธศาสนาเป็นเช่นไร จงอธิบาย ?
ตอบ เห็นว่าเที่ยง คือเห็นว่า คนและสัตว์ตายแล้ว ชีวะไม่สูญ ต้องเกิดอีกต่อไป หรือเคยเป็นอะไร ก็เป็นอย่างนัน้ ตลอดไปหรือมีสภาพอย่างนัน้ ไม่แปรผัน เป็นต้น ส่วนเห็นว่าขาดสูญ คือเห็นว่า อัตภาพจุติแล้วเป็นอันสูญสิน้ ไป หรือคน สัตว์ตายแล้วขาดสูญไปโดยประการทัง้ ปวง ฯ
พระพุทธศาสนาปฏิเสธความเห็นทัง้ ๒ นัน้ มีความเห็นประกอบด้วยสัมมาญาณ อิงเหตุผล ยึดเหตุผลเป็นที่ตัง้ โดยเห็น ว่า คนและสัตว์ตายแล้วจะเกิดอีกหรือไม่ ขึน้ อยู่กับเหตุปัจจัย ฯ
(ปี 2545) ความเห็นว่า "ถึงคราวเคราะห์ดีก็ดีเอง ถึงคราวเคราะห์ร้ายก็ร้ายเอง" อย่างนเี ้ป็นทิฏฐิอะไร ? จงอธิบาย คติทางพระพุทธศาสนาต่างจากความเห็นนอี ้ ย่างไร ?
ตอบ เป็นอเหตุกทิฏฐิ คือเห็นว่า สงิ่ ทัง้ หลายไม่มีเหตุปัจจัย คนเราจะได้ดีหรือได้ร้ายตามคราวเคราะห์ ถึงคราวจะดีก็ดีเอง ถึงคราวจะร้ายก็ร้ายเอง ไม่มีเหตุปัจจัยอื่น ฯ พระพุทธศาสนาถือว่าสังขตธรรมทัง้ ปวงเกิดแต่เหตุ ฯ

หมวด ๓

อริยสัจ ๔ / ญาณ ๓
สัจจญาณ
กิจจญาณ
กตญาณ
ทุกข์
รู้ว่าความเกิด เป็นต้น เป็นทุกข์
รู้ว่าทุกข์ ควรกาหนดรู้
รู้ว่าทุกข์ ได้กาหนดรู้แล้ว
สมุทัย
รู้ว่าตัณหาเป็น เหตุเกิดทุกข์
รู้ว่าสมุทัย ควรละ
รู้ว่าสมุทัย ได้ละแล้ว
นิโรธ

รู้ว่าความดับทุกข์  คือการดับตัณหา
รู้ว่านิโรธ  ควรทาให้แจ้ง

รู้ว่านิโรธ  ได้ทาให้แจ้งแล้ว
มรรค

รู้ว่ามรรค ๘ คือ
เป็นทางดับทุกข์
รู้ว่ามรรค
ควรเจริญ
รู้ว่ามรรค
ได้เจริญแล้ว

 แนวคำถาม
(ปี 2557) กตญาณ เป็นไปในอริยสัจ ๔ อย่างไร?
ตอบ ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกข์ควรกาหนดรู้ได้กาหนดรู้แล้ว ทุกขสมุทัยทคี่ วรละได้ละแล้ว ทุกขนิโรธที่ควรทาให้แจ้งได้ทาให้แจ้ง
แล้ว ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาที่ควรเจริญได้เจริญแล้ว ฯ
(ปี 2556) ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขสมุทยสัจ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า           ๑. ปรีชาหยงั่ รู้ว่า นีทุ้กขสมุทัยเป็นเหตุให้ทุกข์เกิดจริง จัดเป็นสัจญาณ
. ปรีชาหยงั่ รู้ว่า นีทุ้กขสมุทัย ควรละ จัดเป็นกิจญาณ       ๓. ปรีชาหยงั่ รู้ว่า นีทุ้กขสมุทัย ละได้แล้ว จัดเป็นกตญาณ ฯ
(ปี 2555) ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขสัจ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า           ๑) ปรีชาหยงั่ รู้ว่า นทีกขสัจ จัดเป็นสัจจญาณ
) ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกขสัจเป็นสภาพทคี่ วรกาหนดรู้ จัดเป็นกิจจญาณ
) ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกขสัจที่ควรกาหนดรู้ ได้กาหนดรู้แล้ว จัดเป็นกตญาณ ฯ
(ปี 2553) ญาณ ๓ ที่เป็นไปในอริยสัจ ๔ มีอะไรบ้าง ? ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขนิโรธสัจมีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ มี ๑. สัจจญาณ ปรีชาหยงั่ รู้อริยสัจ ๒. กิจจญาณ ปรีชาหยงั่ รู้กิจอันควรทา  ๓. กตญาณ ปรีชาหยงั่ รู้กิจอันทาแล้ว ฯ
มีอธิบายว่า  ๑. ปรีชาหยงั่ รู้ว่า นที ุ้กขนิโรธสัจ จัดเป็นสัจจญาณ
 . ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกขนิโรธสัจเป็นสภาพที่ควรทาให้แจ้ง จัดเป็นกิจจญาณ
. ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกขนิโรธสัจที่ควรทาให้แจ้ง ๆ แล้ว จัดเป็นกตญาณ ฯ
(ปี 2551) กิจจญาณ คืออะไร ? เป็นไปในอริยสัจ ๔ อย่างไร ?
ตอบ คือ ปรีชาหยงั่ รู้กิจอันควรทา ฯ
ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกข์เป็นธรรมชาติที่ควรกาหนดรู้ ทุกขสมุทัยเป็นธรรมชาติที่ควรละ ทุกขนิโรธเป็นธรรมชาติที่ควรทาให้แจ้ง
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาเป็นธรรมชาติที่ควรทาให้เกิด ฯ
(ปี 2546) ญาณ ๓ ที่เป็นไปในอริยสัจ ๔ มีอะไรบ้าง ? ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขนิโรธ มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ มี ๑) สัจจญาณ ปรีชาหยงั่ รู้อริยสัจ ๒) กิจจญาณ ปรีชาหยงั่ รู้กิจอันควรทา  ๓) กตญาณ ปรีชาหยงั่ รู้กิจอันทาแล้ว ฯ
มีอธิบายอย่างนี ้
) ปรีชาหยงั่ รู้ว่า นีทุ้กขนิโรธ จัดเป็นสัจจญาณ
) ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกขนิโรธ เป็นสภาพที่ควรทาให้แจ้ง จัดเป็นกิจจญาณ
) ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกขนิโรธ เป็นสภาพที่ควรทาให้แจ้ง ทาให้แจ้งแล้ว จัดเป็นกตญาณ ฯ
(ปี 2545) ญาณ ๓ ที่เป็นไปในจตุราริยสัจ มีอะไรบ้าง ? ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขสมุทัยมีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ ญาณ ๓ ที่เป็นไปในจตุราริยสัจ มี
) สัจจญาณ ปรีชาหยงั่ รู้อริยสัจ
) กิจจญาณ ปรีชาหยงั่ รู้กิจอันควรทา
) กตญาณ ปรีชาหยงั่ รู้กิจอันทาแล้ว ฯ
ญาณ ๓ ที่เป็นไปในทุกขสมุทัย ดังนี ้
) ปรีชาหยงั่ รู้ว่า นีทุ้กขสมุทัย จัดเป็นสัจจญาณ
) ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกขสมุทัย เป็นสภาพที่ควรละเสีย จัดเป็นกิจจญาณ
) ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกขสมุทัยที่ควรละๆ ได้แล้ว จัดเป็นกตญาณ ฯ
(ปี 2543) ปรีชาหยงั่ รู้อะไรจัดเป็นกิจจญาณ ? สิกขาคืออะไร ? มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?
ตอบ ปรีชาหยงั่ รู้ว่า ทุกข์เป็นธรรมชาติที่ควรกาหนดรู้ ทุกขสมุทัยเป็นสภาพที่ควรละเสีย ทุกขนิโรธเป็นสภาพที่ควรทาให้
แจ้ง ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาเป็นธรรมชาติที่ควรทาให้เกิด จัดเป็นกิจจญาณ ฯ
ปฏิปทาที่ตัง้ ไว้เพื่อศึกษา คือฝึกหัดไตรทวารไปตาม ชื่อว่าสิกขา มี ๓ อย่างคือ อธิสีลสิกขา สกิ ขาคือศีลยิ่ง ๑ อธิจิตตสิก
ขา สิกขาคือจิตยิ่ง ๑ อธิปัญญาสิกขา สิกขาคือปัญญายิ่ง ๑ ฯ

อกุศลวิตก ๓ ความตริในทางไม่ดีไม่งาม
. กามวิตก ความตริในทางกาม
. พยาบาทวิตก ความตริในทางพยาบาท
. วิหิงสาวิตก ความตริในทางเบียดเบียน

แนวคำถาม
(ปี 2554) เมตตากับปรานีมีความหมายต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร ? และอย่างไหน
กาจัดวิตกอะไร ?
ตอบ เมตตาหมายถึงความรักใคร่หรือความหวังดี ปรานีหมายถึงความปรารถนาให้
ผู้อื่นพ้นจากความทุกข์เข้าลักษณะแห่งกรุณา ฯ เมตตากาจัดพยาบาทวิตก
ปรานีกาจัดวิหิงสาวิตก ฯ
(Comment คำว่าเมตตากับปราณีในที่นี้เป็นธรรมที่อยู่ใน อัปปมัญญา ๔)
(ปี 2549) อกุศลวิตก ๓ มีโทษอย่างไร ? แก้ด้วยวิธีอย่างไร ?
ตอบ กามวิตก ทาใจให้เศร้าหมอง เป็นเหตุให้มัวเมาติดอยู่ในกามสมบัติ
พยาบาทวิตก ทาให้เดือดร้อนกระวนกระวายใจ คิดทาร้ายผู้อื่น
วิหิงสาวิตก ย่อมครอบงาจิต ให้คิดเบียดเบียนผู้อื่นโดยเห็นแก่ประโยชน์สุขส่วนตัว ฯ
กามวิตก แก้ด้วยการเจริญกายคตาสติและอสุภกัมมัฏฐาน
พยาบาทวิตก แก้ด้วยการเจริญเมตตาพรหมวิหาร
วิหิงสาวิตก แก้ด้วยการเจริญกรุณาพรหมวิหารและโยนิโสมนสิการ ฯ

กุศลวิตก ๓ ความตริในทางดีงาม
. เนกขัมมวิตก ความตริในทางพรากจากกาม
. อพยาบาทวิตก ความตริในทางไม่พยาบาท
. อวิหิงสาวิตก ความตริในทางไม่เบียดเบียน

แนวคำถาม
(ปี 2556) กุศลวิตก มีอะไรบ้าง? สงเคราะห์เข้าในมรรคมีองค์ ๘ ข้อไหนได้?
ตอบ มี
. เนกขัมมวิตก ความตริในทางพรากจากกาม
. อพยาบาทวิตก ความตริในทางไม่พยาบาท
. อวิหิงสาวิตก ความตริในทางไม่เบียดเบียน ฯ
สงเคราะห์เข้าในข้อ สัมมาสังกัปปะ ฯ

เวทนา ๓ ได้แก่ สุข ทุกข์ เฉย ๆ
เวทนา ๕
๑. สุข ความสบายกาย
๒. โสมนัส ความสุขทางใจ
๓. ทุกข์ ความไม่สบายกาย
๔. โทมนัส ความทุกข์ทางใจ
๕. อุเบกขา ความรู้สึกเฉยๆ

แนวคำถาม
(ปี 2557) ความรู้สึกเฉยๆ ทางกาย กับความรู้สึกเฉยๆ ทางใจ จัดเข้าในเวทนา ๕ อย่างไร?
ตอบ ความรู้สึกเฉยๆ ทางกาย จัดเป็นสุข
ความรู้สึกเฉยๆ ทางใจ จัดเป็นอุเบกขา ฯ
(ปี 2550) เวทนา ๓ และเวทนา ๕ ได้แก่อะไรบ้าง ? จัดกลุ่มเทียบกันได้อย่างไร ?
ตอบ เวทนา ๓ ได้แก่ สุข ทุกข์ เฉย ๆ คือไม่สุขไม่ทุกข์ ส่วนเวทนา ๕ ได้แก่ สุข โสมนัส ทุกข์ โทมนัส อุเบกขา ฯ
ในเวทนา ๓ สุข คือ สุขกายและสุขใจ ซึ่งในเวทนา ๕ สุขกายก็คือสุข และสุขใจก็คือโสมนัส
ในเวทนา ๓ ทุกข์ คือ ทุกข์กายและทุกข์ใจ ซึ่งในเวทนา ๕ ทุกข์กายก็คือทุกข์ และทุกข์ใจก็คือโทมนัส
ส่วนในเวทนา ๓ เฉย ๆ คือไม่สุขไม่ทุกข์ ในเวทนา ๕ ก็คืออุเบกขานนั่ เอง


หมวด ๔

อัปปมัญญา ๔
(ไม่มีขอบเขต, ไม่มีประมาณ) ธรรมคือเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ที่แผ่ไปในสรรพสัตว์
ทัง้ หลายอย่างไม่มีขอบเขต
. เมตตา ความรักใคร่ ,ความหวังดี หรือปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข
. กรุณา สงสาร หรือปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นจากความทุกข์ หรือความปราณี
. มุทิตา พลอยยินดี หรือยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข
. อุเบกขา วางเฉย หรือวางใจเป็นกลางเมื่อเห็นว่าสัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ไม่อาจช่วยเหลือได้

แนวคำถาม
(ปี 2557) การแผ่เมตตาในพรหมวิหาร กับในอัปปมัญญา ต่างกันอย่างไร?
ตอบ ในพรหมวิหาร เป็นการแผ่เมตตาโดยเจาะจงตัว หรือเจาะจงหมู่คณะ
ส่วนในอัปปมัญญา เป็นการแผ่มเตตาโดยไม่เจาะจงตัวไม่มีจากัด ฯ
(ปี 2554) เมตตากับปรานีมีความหมายต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร ? และอย่างไหนกาจัดวิตกอะไร ?
ตอบ เมตตาหมายถึงความรักใคร่หรือความหวงั ดี ปรานีหมายถึงความปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นจากความทุกข์เข้าลักษณะ
แห่งกรุณา ฯ เมตตากาจัดพยาบาทวิตก ปรานีกาจัดวิหิงสาวิตก ฯ
 (Comment คำว่าวิตกในที่นี้ หมายถึง อกุศลวิตก ๓ ได้แก่ กามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตก)
(ปี 2549) พรหมวิหารกับอัปปมัญญา ต่างกันอย่างไร ? อย่างไหนเป็นปฏิปทาโดยตรงของภิกษุในพระธรรมวินัยนี ้?
ตอบ ต่างกันโดยวิธีแผ่ คือ แผ่โดยเจาะจงตัวก็ดี โดยไม่เจาะจงตัวก็ดี แต่ยังจากัดหมู่นัน้ หมู่นจี ั้ดเป็นพรหมวิหาร
ถ้าแผ่โดยไม่เจาะจงไม่จากัด จัดเป็นอัปปมัญญา ฯ
อัปปมัญญาเป็นปฏิปทาของภิกษุในพระธรรมวินัยนี ้ฯ

ทักขิณาวิสุทธิ ๔ ความบริสุทธิ์แห่งทักขิณา (ทักขิณา คือ ของทาบุญ)
. บริสุทธ์ิฝ่ ายทายก ฝ่ ายปฏิคาหกไม่บริสุทธ์ิ
. บริสุทธ์ิฝ่ ายปฏิคาหก ฝ่ ายทายกไม่บริสุทธ์ิ
. ไม่บริสุทธ์ิทั้งฝ่ ายทายก และฝ่ ายปฏิคาหก
. บริสุทธ์ิทั้งฝ่ ายทายก และฝ่ ายปฏิคาหก

แนวคำถาม
(ปี 2556) ทักขิณาวิสุทธิ มีอะไรบ้าง? อย่างไหนให้อานิสงส์มากที่สุด?
ตอบ ทักขิณาบางอย่าง บริสุทธ์ฝ่ายทายก ไม่บริสุทธ์ฝ่ายปฏิคาหก
ทักขิณาบางอย่าง บริสุทธ์ฝ่ายปฏิคาหก ไม่บริสุทธ์ฝ่ายทายก
ทักขิณาบางอย่าง ไม่บริสุทธ์ทัง้ ฝ่ ายทายก ทัง้ ฝ่ ายปฏิคาหก
ทักขิณาบางอย่าง บริสุทธ์ทัง้ ฝ่ ายทายก ทัง้ ฝ่ ายปฏิคาหก ฯ
อย่างที่ ๔ คือ ทักขิณาที่บริสุทธ์ทัง้ ฝ่ ายทายก ทัง้ ฝ่ ายปฏิคาหก ฯ
(ปี 2554) ทักขิณา คืออะไร? ทักขิณานัน้ จะบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์ ในฝ่ ายทายกและในฝ่ ายปฏิคาหกนัน้ มีอะไรเป็น
เครื่องหมาย?
ตอบ คือ ของทาบุญ ฯ ทักขิณาจะบริสุทธิ์ มีศีลมีกัลยาณธรรมเป็นเครื่องหมาย ทักขิณาจะไม่บริสุทธิ์ มีทุศีลมีบาปธรรมเป็นเครื่องหมาย ฯ
(ปี 2549) ทักขิณา คืออะไร ? ทักขิณานัน้ จะบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์ มีอะไรเป็นเครื่องหมาย ?
ตอบ คือ ของทาบุญ ฯ มีศีลมีกัลยาณธรรมของทายก หรือปฏิคาหกฝ่ ายใดฝ่ ายหนงึ่ เป็นเครื่องหมายให้รู้ว่า บริสุทธิ์ และมีความเป็นผู้ทุศีลและอธรรม ของทายกหรือปฏิคาหกฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเป็นเครื่องหมายให้รู้ว่า ไม่บริสุทธิ์ ฯ
(ปี 2546) คาว่า ทักขิณา ในทักขิณาวิสุทธินัน้ หมายถึงอะไร ? ทักขิณาจะไม่บริสุทธิ์ และบริสุทธิ์ กาหนดรู้ได้อย่างไร ?
ตอบ หมายถึง ของทาบุญ ฯ กาหนดรู้ได้อย่างนี ้  ทัง้ ทายก ทัง้ ปฏิคาหกเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ ทักขิณานัน้ ชื่อว่า ไม่บริสุทธิ์ทัง้ สองฝ่ าย ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบริสุทธิ์ ชื่อว่าบริสุทธิ์ฝ่ายเดียว ทัง้ สองฝ่ ายบริสุทธิ์ ชื่อว่าบริสุทธิ์ทัง้ สองฝ่ าย ฯ

โอฆะ ๔ กิเลสเป็นดุจกระแสนา้ อันท่วมใจสัตว์ (กาม ภพ ทิฏฐิ และอวิชชา)
. กาโมฆะ โอฆะคือกาม
. ภโวฆะ โอฆะคือภพ
. ทิฏโฐฆะ โอฆะคือทิฏฐิ
. อวิชโชฆะ โอฆะคืออวิชชา
อาสวะ ๔ กิเลสเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในสันดาน
. กามาสวะ อาสวะคือกาม (อาสวะเป็นเหตุอยากได้)
. ภวาสวะ อาสวะคือภพ (อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น)
. ทิฏฐาสวะ อาสวะคือทิฏฐิ
. อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชาความเขลา
โยคะ ๔ กิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไว้ในภพ
. กามโยคะ กิเลสเครื่องประกอบคือกาม (ตรึงให้ติดอยู่กับกามคุณ)
. ภวโยคะ กิเลสเครื่องประกอบคือภพ (ตรึงให้ติดอยู่กับความยินดีในอัตภาพของตน ตลอดจนชอบใจ ในรูปภพ อรูปภพ)
. ทิฏฐิโยคะ กิเลสเครื่องประกอบคือทิฏฐิ (ตรึงให้ติดอยู่กับความเห็นผิดจากทานองคลองธรรม)
. อวิชชาโยคะ กิเลสเครื่องประกอบคืออวิชชา (ตรึงให้ติดอยู่กับความหลง)

แนวคำถาม
(ปี 2557) กิเลส ชื่อว่าโอฆะ โยคะ และอาสวะ เพราะเหตุไร?
ตอบ ชื่อว่าโอฆะ เพราะดุจเป็นกระแสนา้ อันท่วมใจสัตว์ ชื่อว่าโยคะ เพราะประกอบสัตว์ไว้ในภพ
ชื่อว่าอาสวะ เพราะเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในสันดาน ฯ
(ปี 2553) กาม ภพ ทิฏฐิ และอวิชชา ได้ชื่อว่า โอฆะ โยคะ และอาสวะ เพราะเหตุไร ?
ตอบ ได้ชื่อว่าโอฆะ เพราะเป็นดุจกระแสนา้ อันท่วมใจสัตว์ ได้ชื่อว่าโยคะ เพราะประกอบสัตว์ไว้ในภพ ได้ชื่อว่าอาสวะ เพราะเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในสันดาน ฯ
(ปี 2544) กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา เพราะเหตุไรจึงเรียกว่า โอฆะ โยคะ อาสวะ ? กิจในอริยสัจแต่ละอย่างนัน้ มีอะไรบ้าง ?
ตอบ เรียกว่า โอฆะ เพราะเป็นดุจกระแสนา้ อันท่วมใจสัตว์ เรียกว่า โยคะ เพราะประกอบสัตว์ไว้ในภพ  เรียกว่า อาสวะ เพราะเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในสันดาน ฯ
มี ๔ คือ
) ปริญญา กาหนดรู้ทุกขสัจ
) ปหานะ ละสมุทัยสัจ
) สัจฉิกรณะ ทาให้แจ้งนิโรธสัจ
) ภาวนา ทามัคคสัจให้เกิด ฯ

หมวด ๕

มาร ๕ (ผู้ฆ่าหรือผู้กำจัด) สงิ่ ที่ล้างผลาญทาลายความดี ชักนาให้ทาบาปกรรม ปิดกัน้ ไม่ให้ทาความดี จนถึงปิดกัน้ ไม่ให้เข้าใจสรรพสงิ่ ตามความเป็นจริง ฯ
. ขันธมาร มารคือขันธ์ ๕ (ปัญจขันธ์)
. กิเลสมาร มารคือกิเลส
. อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร
. เทวปุตตมาร มารคือเทวดา
. มัจจุมาร มารคือความตาย

แนวคำถาม
(ปี 2556) ในพระพุทธศาสนาพูดเรื่องมารไว้มาก อยากทราบว่า คาว่า มาร หมายถึงอะไร? กิเลสได้ชื่อว่ามารเพราะเหตุไร?
ตอบ หมายถึงสงิ่ ที่ล้างผลาญทาลายความดี ชักนาให้ทาบาปกรรม ปิดกัน้ ไม่ให้ทาความดี จนถึงปิดกัน้ ไม่ให้เข้าใจสรรพ สิ่งตามความเป็นจริง ฯ
เพราะผู้ที่ตกอยู่ในอานาจของกิเลสแล้ว ย่อมจะถูกผูกมัดไว้บ้าง ถูกทาให้เสียคนบ้าง ฯ
(ปี 2555) ปัญจขันธ์ได้ชื่อว่าเป็นมาร เพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะปัญจขันธ์นัน้ บางทีทาความลา บากให้ อันเป็นเหตุเบื่อหน่ายจนถงึ ฆ่าตัวตายเสียเองก็มี ฯ
(ปี 2552) มารมีอะไรบ้าง อกุศลกรรมจัดเป็นมารประเภทใด?
ตอบ มีดังนี ้
)ขันธมาร มารคือปัญจขันธ์
)กิเลสมาร มารคือกิเลส
)อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร
)เทวปุตตมาร มารคือเทวดา
)มัจจุมาร มารคือความตาย
อกุศลกรรมเป็นมารประเภทอภิสังขารมาร ฯ
(ปี 2549) มาร คืออะไร ? เฉพาะอภิสังขารมาร หมายถึงอะไร ?
ตอบ คือ สิ่งที่ล้างผลาญทาลายความดี ชักนาให้ทาบาปกรรม ปิดกัน้ ไม่ให้ทาความดี จนถึงปิดกัน้ ไม่ให้เข้าใจสรรพสงิ่ ตามความเป็นจริง ฯ หมายถึง อกุศลกรรม ฯ
(ปี 2548) มัจจุมารได้แก่อะไร ? ได้ชื่อว่าเป็นมารเพราะเหตุไร ?
ตอบ ได้แก่ความตาย ฯ ชื่อว่าเป็นมารเพราะเมื่อความตายเกิดขึน้ บุคคลย่อมหมดโอกาสที่จะทาประโยชน์ใดๆอีกต่อไป ฯ
(ปี 2546) ปัญจขันธ์ ได้ชื่อว่า มาร เพราะเหตุไร ?
กิเลสมาร และมัจจุมาร จัดเข้าในอริยสัจข้อใดได้หรือไม่ ? เพราะเหตุไร ?
ตอบ เพราะบางทีทาความลาบากให้ อันเป็นเหตุเบื่อหน่าย จนถึงฆ่าตัวตายเสียเองก็มี ฯ ได้ ฯ กิเลสมาร จัดเข้าในทุกขสมุทัยสัจ เพราะกิเลสเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ มัจจุมาร จัดเข้าในทุกขสัจ เพราะเป็นตัวทุกข์ ฯ
(ปี 2544) กรรมฝ่ายอกุศลจัดเป็นมารอะไรในมาร ๕ ? เพราะเหตุไรจึงได้ชื่อว่ามาร ? สุทธาวาสมีกี่ชัน้ ? อะไรบ้าง ? เป็นที่เกิดของใคร ?
ตอบ จัดเป็นอภิสังขารมาร, ที่ได้ชื่อว่ามารเพราะทาให้เป็นผู้ทุรพล
มี ๕ ชัน้ คือ
) อวิหา
) อตัปปา
) สุทัสสา
) สุทัสสี
) อกนิฏฐา
เป็นที่เกิดของพระอนาคามี

หมวด ๖
จริต ๖ อุปนิสัยส่วนตัวของมนุษย์
. ราคจริต ผู้มีราคะเป็นปกติ
. โทสจริต ผู้มีโทสะเป็นปกติ
. โมหจริต ผู้มีโมหะเป็นปกติ
. วิตกจริต ผู้มีวิตกเป็นปกติ
. สัทธาจริต ผู้มศี รัทธาเป็นปกติ
. พุทธิจริต ผู้มีความรู้เป็นปกติ

แนวคำถาม
(ปี 2553) จริต ๖ ได้แก่อะไรบ้าง ? คนมีจริตมักนึกพล่านจะพึงแก้ด้วยกัมมัฏฐานอะไร ?
ตอบ ได้แก่ ๑. ราคจริต ๒. โทสจริต ๓. โมหจริต ๔. วิตกจริต ๕. สัทธาจริต ๖. พุทธิจริต ฯ
พึงแก้ด้วยวิธีเพ่งกสิณ หรือเจริญอานาปานัสสติกัมมัฏฐาน ฯ
(ปี 2546) บุคคลผู้มีปกติต่อไปนี ้จัดเข้าในจริตอะไร ? จะพึงแก้ด้วยธรรมข้อใด ?
. ผู้มีปกติรักสวยรักงาม
. ผู้มีปกตินึกพล่าน
ตอบ . จัดเข้าในราคจริต ฯ จะพึงแก้ด้วยเจริญกายคตาสติ หรืออสุภกัมมัฏฐาน ฯ
. จัดเข้าในวิตักกจริต ฯ จะพึงแก้ด้วยเพ่งกสิณ หรือเจริญอานาปานสติ ฯ
(ปี 2544) ปาฏิหาริย์คืออะไร ? พระพุทธเจ้าทรงยกย่องปาฏิหาริย์อะไรว่าเป็นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหาริย์อื่น ? พุทธจริยา และพุทธิจริต ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ คือ การกระทาที่ให้บังเกิดผลเป็นอัศจรรย์ ฯ ทรงยกย่องอนุสาสนีปาฏิหาริย์ว่าเป็นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหาริย์อื่น ฯ
พุทธจริยา คือพระจริยาของพระพุทธเจ้า พุทธิจริต คือผู้มีความรู้เป็นปกติ ฯ

อภิฐาน ๖ ฐานะอันมีโทษหนัก
. มาตุฆาต ฆ่ามารดา
. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา
. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์
. โลหิตุปบาท ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนพระโลหิตห้อ
. สังฆเภท ทาลายสงฆ์ให้แตกกัน
. อัญญสัตถุทเทส นับถือศาสดาอื่น

แนวคำถาม
(ปี 2544) อัญญสัตถุทเทสคืออะไร ? หมายถึงผู้ประพฤติเช่นไร ? อัญญสัตถุทเทสต่างจากสังฆเภทอย่างไร ?
ตอบ คือถือศาสดาอื่น หมายถึงภิกษุผู้ไปเข้ารีตเดียรถีย์ คือหันเหไปนับถือศาสนาอื่นทัง้ ที่ยังถือเพศบรรพชิตอยู่ ต้องห้าม มิให้อุปสมบทอีกฯ
ต่างกัน คืออัญญสัตถุทเทสนัน้ ละทงิ ้ ศาสนาเดิมของตน เปลยี่ นไปนับถือศาสนาอื่น แต่ไม่ทาลายพวกเดิมของตน ส่วน สังฆเภทนัน้ ยังอยู่ในศาสนาเดิมของตน แต่ทาลายพวกตนเองให้แตกแยกเป็นพรรคเป็นพวกฯ

หมวด ๗
สมาบัติ ๘ ธรรมที่ควรเข้าถึง
. ปฐมฌาณ
. ทุติยฌาณ
. ตติยฌาณ
. จตุตถฌาณ
. อากาสานัญจายตนะ
. วิญญาณัญจายตนะ
. อากิญจัญญายตนะ
. เนวสัญญานาสัญญายตนะ

แนวคำถาม
 (ปี 2554) ครุกรรม คืออะไร ? อนันตริยกรรมกับสมาบัติ ๘ เป็นครุกรรมฝ่ายกุศล หรืออกุศล ?
ตอบ คือ กรรมหนัก ฯ อนันตริยกรรม เป็นครุกรรมฝ่ายอกุศล สมาบัติ ๘ เป็นครุกรรมฝ่ายกุศล ฯ
(ปี 2545) วิญญาณฐิติต่างจากสัตตาวาสอย่างไร ? สัญญาเวทยิตนิโรธกับนิโรธสมาบัติต่างกันหรือเหมือนกัน ?
ตอบ ต่างกันอย่างนี ้ ภูมิเป็นที่ตัง้ แห่งวิญญาณเรียกว่า วิญญาณฐิติ ภพเป็นที่อยู่แห่งสัตว์ เรียกว่า สัตตาวาส ฯ ต่างกันโดยพยัญชนะ โดยอรรถเป็นอย่างเดียวกัน คือท่านผู้เข้าถึงสมาบัตชิ นิดนีแ้ ล้วย่อมไม่มีสัญญาและเวทนา ฯ

หมวด ๙หมวด ๙

พุทธคุณ ๙ คุณความดีของพระพุทธเจ้า
. อรห เป็นพระอรหันต์ (มีความหมายหลายประการ
.เป็ นผู้เว้นไกลจากกิเลสและบาปธรรม
.เป็ นผู้หักกา แห่งสังสารจักร
.เป็ นผู้ควรแนะนาสั่งสอนเขา
.เป็ นผู้ควรรับความเคารพนับถือของเขา
.เป็ นผู้ไม่มีข้อลับ ไม่ได้ทา ความเสียหายอันจะพึงซ่อนเพื่อมิให้คนอื่นรู้)
. สมฺมาสมฺพุทฺโธ เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง
. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ (วิชชา ๓ และจรณะ ๑๕)
. สุคโต เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
. โลกวิทู เป็นผู้รู้แจ้งโลก
. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ เป็นผู้ฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
. สตฺถา เทวมนุสฺสาน เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย
. พุทฺโธ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
. ภควา .เป็นผู้มีโชค ๒.เป็นผู้จาแนกธรรม

แนวคำถาม
(ปี 2556) พุทธคุณ ๒ ก็มี พุทธคุณ ๓ ก็มี พุทธคุณ ๙ ก็มี จงแจกแจงแต่ละอย่างว่ามีอะไรบ้าง?
ตอบ พุทธคุณ ๒ คือ อัตตสมบัติ และ ปรหิตปฏิบัติ พุทธคุณ ๓ คือ พระปัญญาคุณ พระวิสุทธิคุณ และพระกรุณาคุณ
พุทธคุณ ๙ คือ อรห , สมฺมาสมฺพุทฺโธ, วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน, สุคโต,โลกวิทู, อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ, สตฺถา เทวมนุสฺสาน ,
พุทฺโธ,ภควา ฯ
(ปี 2554) พระพุทธคุณว่า อรห ใช้เป็นคุณบทของพระสาวกได้ด้วยหรือไม่? ถ้าได้ จะมีคาอะไรมาประกอบร่วมด้วย เป็น
เครื่องหมายให้รู้ว่าเป็นคุณบทของพระศาสดาหรือของพระสาวก?
ตอบ ได้ ฯ สาหรับพระศาสดา ใช้ว่า อรห สมฺมาสมฺพุทฺโธ แปลว่า พระอรหันต์  ผู้ตรัสรู้ชอบเอง สา หรับพระสาวกใช้ว่า อรห ขีณาสโว แปลว่า พระอรหันต์ผู้มีอาสวะสิน้ แล้ว ฯ
(ปี 2553) พระพุทธคุณ ๙ บท คืออะไรบ้าง ? บทไหนจัดเป็นอัตตหิตสมบัติและ ปรหิตปฏิบัติ ?
ตอบ คือ อรห , สมฺมาสมฺพุทฺโธ, วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน, สุคโต, โลกวิทู, อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ, สตฺถา เทวมนุสฺสาน , พุทฺโธ,
ภควา ฯ ๕ บทเบอื ้ งต้นเป็นอัตตหิตสมบัติ ๔ บทเบอื ้ งปลายเป็นปรหิตปฏิบัติ ฯ
(ปี 2552) พระพุทธคุณบทหนงึ่ ว่า เป็นผู้หักกาแห่งสังสารจักร ถามว่ากาได้แก่อะไร สังสารจักรได้แก่อะไร?
ตอบ กา ได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม  สังสารจักร ได้แก่ กิเลส กรรม วิบาก ฯ
(Comment " กิเลส กรรม วิบาก " เรียกว่า วัฏฏะ ๓)
(ปี 2548) พระพุทธคุณบทว่าอนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกได้  ไม่มีใครยิ่งกว่าคาว่าบุรุษที่ควรฝึกได้นัน้ หมายถึงบุคคลเช่นไร ?
ตอบ หมายถึงบุคคลผู้มีอุปนิสัยทอี่ าจฝึกให้ดีได้และตัง้ ใจจะเข้าใจพระธรรมเทศนา แม้ฟังด้วยตัง้ ใจจะจับข้อบกพร่องขึน้ ยกโทษเช่นเดียรถีย์ก็ตาม ฯ
(ปี 2545) ในพระพุทธคุณ บทว่า อรห ที่แปลว่า เป็นผู้หักกาแห่งสังสารจักรนัน้ กาแห่งสังสารจักร ได้แก่อะไร ?
พระพุทธคุณต่อไปนีมี้คาแปลว่าอย่างไร ?
) สุคโต
) อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ
ตอบ ได้แก่อวิชชา ตัณหา อุปาทานและกรรม ฯ
) เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
) เป็นสารถีแห่งบุรุษพึงฝึกได้ ไม่มีบุรุษอื่นยิ่งไปกว่า ฯ
(ปี 2544) พระพุทธคุณ บทว่า อรห แปลว่าอย่างไรได้บ้าง ? พระสงฆ์ดีอย่างไร จึงจัดว่าเป็นนาบุญของโลก ?
ตอบ แปลว่า เป็นผู้เว้นไกลจากกิเลสและบาปธรรม เป็นผู้หักกาแห่งสังสารจักร เป็นผู้ควรแนะนาสงั่ สอนเขา เป็นผู้ควรรับความเคารพนับถือของเขา เป็นผู้ไม่มีข้อลับ ไม่ได้ทาความเสียหายอันจะพึงซ่อนเพื่อมิให้คนอื่นรู้ ฯ พระสงฆ์เป็นผู้บริสุทธิ์ ทักขิณาที่บริจาคแก่ท่าน ย่อมมีผลานิสงส์ ดุจนาที่มีดินดีและไถดี พืชที่หว่านที่ปลูกลงย่อมเผล็ดผล ไพบูลย์ จึงชื่อว่านาบุญของโลก ฯ
(ปี 2543) จงให้ความหมายของคาต่อไปนี ้
. ภควา                   ข. โอปนยิโก
ตอบ . ภควา คือพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงเป็นผู้มีโชค คือจะทรงทาการใด ก็ ลุล่วงปลอดภัยทุกประการ อีกอย่างหนงึ่ เป็นผู้จาแนกแจกธรรม
. โอปนยิโก คือพระธรรมมีคุณควรน้อมเข้ามาในใจของตนหรือควรน้อมใจเข้าไปหาพระธรรมนัน้ ด้วยการปฏิบัติให้เกิดมีขึน้ ในใจ

สังฆคุณ ๙ คุณความดีองพระสงฆ์ผู้เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า
. สุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว
. อุชุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว
. ญายปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติเป็นธรรม
. สามีจิปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติสมควร
. อาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของคานับ
. ปาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของต้อนรับ
. ทกฺขิเณยฺโย เป็นผู้ควรของทาบุญ
. อญฺชลิกรณีโย เป็นผู้ควรทาอัญชลี (ประณมมือไหว้)
. อนุตฺตร ปุญฺญกฺเขตฺต โลกสฺส เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า

แนวคำถาม
(ปี 2555) สังฆคุณ ๙ มีอะไรบ้าง จะย่นให้เหลือเพียง ๒ ได้อย่างไร?
ตอบ มี
) สุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว
) อุชุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว
) ญายปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติเป็นธรรม
) สามีจิปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติสมควร
) อาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของคานับ
) ปาหุเนยฺโย เป็นผู้ควรของต้อนรับ
) ทกฺขิเณยฺโย เป็นผู้ควรของทาบุญ
) อญฺชลิกรณีโย เป็นผู้ควรทาอัญชลี (ประณมมือไหว้)
) อนุตฺตร ปุญฺญกฺเขตฺต โลกสฺส เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ฯ
ข้อ ๑ ถึงข้อ ๔ เป็นอัตตหิตคุณ คือคุณเกือ้ กูลแก่ตนเอง   ข้อ ๕ ถึงข้อ ๙ เป็นปรหิตคุณ คือคุณเกือ้ กูลแก่ผู้อื่น ฯ
(ปี 2546) พระสงฆ์ ในบทสังฆคุณ ๙ ท่านหมายถึงพระสงฆ์เช่นไร ?
คาว่าอุชุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติตรงคือปฏิบัติเช่นไร ?
ตอบ หมายถึง พระสาวกผู้ได้บรรลุธรรมวิเศษ ฯ คือไม่ปฏิบัติลวงโลก ไม่มีมายาสาไถย ประพฤติตรง ตรงต่อพระศาสดาและเพื่อนสาวกด้วยกัน ไม่อาพรางความในใจ ไม่มีแง่มีงอน ฯ
(ปี 2544) พระพุทธคุณ บทว่า อรห แปลว่าอย่างไรได้บ้าง ? พระสงฆ์ดีอย่างไร จึงจัดว่าเป็นนาบุญของโลก ?
ตอบ แปลว่า เป็นผู้เว้นไกลจากกิเลสและบาปธรรม เป็นผู้หักกาแห่งสังสารจักร เป็นผู้ควรแนะนาสงั่ สอนเขา เป็นผู้ควรรับความเคารพนับถือของเขา  เป็นผู้ไม่มีข้อลับ ไม่ได้ทาความเสียหายอันจะพึงซ่อนเพื่อมิให้คนอื่นรู้ ฯ พระสงฆ์เป็นผู้บริสุทธิ์ ทักขิณาที่บริจาคแก่ท่าน ย่อมมีผลานิสงส์ดุจนาที่มีดินดีและไถดี พืชที่หว่านที่ปลูกลงย่อมเผล็ดผล ไพบูลย์ จึงชื่อว่านาบุญของโลก ฯ


หมวด ๑๐
มิจฉัตตะ ๑๐ ความเป็นสิ่งที่ผิด
. มิจฉาทิฏฐิ เห็นผิด
. มิจฉาสังกัปปะ ดาริผิด
. มิจฉาวาจา วาจาผิด
. มิจฉากัมมันตะ การงานผิด
. มิจฉาอาชีวะ เลีย้ งชีพผิด
. มิจฉาวายามะ พยายามผิด
. มิจฉาสติ ระลึกผิด
. มิจฉาสมาธิ ตัง้ จิตผิด
. มิจฉาญาณะ รู้ผิด
๑๐. มิจฉาวิมุตติ พ้นผิด

แนวคำถาม
(ปี 2552) มิจฉัตตะคืออะไร มีอะไรบ้าง มิจฉาวายามะได้แก่พยายามผิดอย่างไร?
ตอบ ความเป็นสิ่งที่ผิด มี
.มิจฉาทิฏฐิ ๒.มิจฉาสังกัปปะ
.มิจฉาวาจา ๔.มิจฉากัมมันตะ
.มิจฉาอาชีวะ ๖.มิจฉาวายามะ
.มิจฉาสติ ๘.มิจฉาสมาธิ
.มิจฉาญาณะ ๑๐.มิจฉาวิมุตติ
มิจฉาวายามะ ได้แก่ พยายามในทางยังบาปธรรมให้เกิดขึน้ และให้เจริญ และในทางยังกุศลธรรมไม่ให้เกิดขึน้ และให้เสอื่ มสิน้ ฯ
(ปี 2543) จงอธิบายคาต่อไปนี ้
. มิจฉาสมาธิ ข. สัมมาสมาธิ
ตอบ . มิจฉาสมาธิ คือการตัง้ จิตไว้ผิด โดยนาสมาธิที่ได้นัน้ ไปใช้ในผิดทาง เช่น สะกดจิตในทางหาลาภให้แก่ตนเอง ในทางหาผลประโยชน์ ทาให้ผู้อื่นหลงงมงายในวิชาความรู้ ในทางให้ร้ายผู้อื่นและในทางนาให้หลง ฯ
. สัมมาสมาธิ คือการตัง้ จิตไว้ชอบในองค์ฌาน ๔ หรือมีนัยตรงกันข้ามกับ มิจฉาสมาธิข้างต้น

บารมี ๑๐ ปฏิปทาอันยิ่งยวด หรือคุณธรรมที่ประพฤติอย่างยิ่งยวด ได้แก่ ความดีที่บาเพ็ญอย่างพิเศษ เพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุด ฯ
. ทานบารมี การให้
. สีลบารมี การรักษาศีลให้เป็นปกติ
. เนกขัมมบารมี การออกจากกาม
. ปัญญาบารมี ความรอบรู้
. วิริยบารมี ความเพียร
. ขันติบารมี ความอดทนอดกลัน้
. สัจจบารมี ความตัง้ ใจจริง การทาจริง พูดจริงและความจริงใจ
. อธิษฐานบารมี ความตัง้ ใจมนั่
. เมตตาบารมี ความรักใคร่ ความปรารถนาดี
๑๐. อุเบกขาบารมี ความวางเฉย

แนวคำถาม
(ปี 2557) ผู้บริจาคทานระดับใดจัดเป็นทานบารมี ทานอุปบารมี และทานปรมัตถบารม?
(ปี 2557) ผู้บริจาคทานระดับใดจัดเป็นทานบารมี ทานอุปบารมี และทานปรมัตถบารม?
ตอบ บริจาคพัสดุภายนอก จัดเป็นทานบารมี  บริจาคอวัยวะ จัดเป็นทานอุปบารมี  บริจาคชีวิต จัดเป็นทานปรมัตถบารมี ฯ
(ปี 2549) บารมี คืออะไร ? อธิษฐานบารมี คือการทาอย่างไร ?
ตอบ ปฏิปทาอันยิ่งยวด หรือคุณธรรมที่ประพฤติอย่างยิ่งยวด ได้แก่ ความดีที่บาเพ็ญอย่างพิเศษ เพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุด ฯ คือความตัง้ ใจมนั่ ตัดสินใจเด็ดเดี่ยว วางจุดหมายแห่งการกระทาของตนไว้แน่นอนและดาเนินตามนัน้ อย่างแน่วแน่ ฯ
(ปี 2543) บารมีคืออะไร ? มีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ? สังโยชน์อะไรเรียกว่า โอรัมภาคิยสังโยชน์ ? มีอะไรบ้าง ?
ตอบ คือคุณสมบัติหรือปฏิปทาอันยวดยิ่ง
มี ๑๐ อย่าง คือ ทาน ๑ ศีล ๑ เนกขัมมะ ๑ ปัญญา ๑ วิริยะ ๑  ขันติ ๑ สัจจะ ๑ อธิษฐาน ๑ เมตตา ๑ อุเบกขา ๑ ฯ
สังโยชน์เบอื งต่าคืออย่างหยาบเรียกว่า โอรัมภาคิยสังโยชน์ มี ๕ อย่างคอื สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส
๑ กามราคะ ๑ ปฏิฆะ ๑ ฯ

หมวด ๑๒

ปฏิจจสมุปบาท หรือ ปัจจยาการ ๑๒ ธรรมที่อิงอาศัยกันและกันเกิดขึน้
. อวิชชา ความไม่รู้
. สังขาร สภาพที่ปรุงแต่ง ได้แก่ อภิสังขาร ๓
. วิญญาณ ปฏิสนธิวิญญาณ วิญญาณที่จะไปถือกาเนิดใหม่อย่างหนงึ่ หมายถึง วิญญาณ ๖
. นามรูป ได้แก่ การประกอบกันของนามรูปเป็นอัตภาพ
. สฬายตนะ ได้แก่ อายตนะ ๖
. ผัสสะ การสัมผัส การกระทบกันระหว่างอายตนะภายในอายตนะภายนอกและวิญญาณ
. เวทนา ความรู้สึก การเสวยอารมณ์ที่เกิดจากผัสสะ สุข ทุกข์ เฉยๆ
. ตัณหา ความทะยานอยาก
. อุปาทาน ความยึดมนั่ ถือมนั่
๑๐. ภพ ได้แก่ กรรมภพ(กรรมที่นาสัตว์ให้ไปอุบัติในภพต่างๆ อันได้แก่ อภิสังขาร ๓) และอุปัตติภพ (สถานที่ที่สัตว์ไปเกิดและดารงชีวิตอยู่ อันได้แก่ ภพ ๓)
๑๑. ชาติ การเกิด
๑๒. ชรามรณะ ความเสื่อมสลาย

แนวคำถาม
(ปี 2551) สมุทัยวาร กับ นิโรธวาร ในปฏิจจสมุปบาท ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ สมุทัยวาร คือการแสดงความเกิดแห่งผล เพราะเกิดแห่งเหตุ ส่วนนิโรธวาร คือการแสดงความดับแห่งผล เพราะดับแห่งเหตุ ฯ


หมวด ๑๓
ธุดงค์ ๑๓ (องค์คุณเป็นเครื่องฆ่าหรือกาจัดกิเลส) วัตตจริยาพิเศษอย่างหนึ่ง พระพุทธเจ้าท่านทรงบัญญัติไว้
เพื่อเป็ นอุบายขัดเกลากิเลส และเป็ นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ
หมวด ๑ จีวรปฏิสังยุตต์ ธุดงค์ที่เกี่ยวกับจีวร
. ปังสุกูลิกังคะ ถือการใช้ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร
. เตจีวริกังคะ ถือการใช้ผ้าไตรจีวรเป็นวัตร
หมวด ๒ ปิณฑปาตปฏิสังยุตต์ ธุดงค์ที่เกี่ยวกับบิณฑบาต
. ปิณฑปาติกังคะ ถือการเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร
. สปทานจาริกังคะ ถือการเที่ยวบิณฑบาตไปตามลาดับบ้านเป็นวัตร
. เอกาสนิกังคะ ถือการนงั่ ฉันอาสนะเดียวเป็นวัตร
. ปัตตปิณฑิกังคะ ถือการฉันในบาตรเป็นวัตร
. ขลุปัจฉาภัตติกังคะ ถือการไม่ฉันปัจฉาภัตเป็นวัตร
หมวด ๓ เสนาสนปฏิสังยุตต์ ธุดงค์ที่เกี่ยวกับเสนาสนะ
. อรัญญิกังคะ ถือการอยู่ป่ าเป็นวัตร
. รุกขมูลิกังคะ ถือการอยู่โคนต้นไม้เป็นวัตร
๑๐. อัพโภกาสิกังคะ ถือการอยู่กลางแจ้งเป็นวัตร
๑๑. โสสานิกังคะ ถือการอยู่ป่ าช้าเป็นวัตร
๑๒. ยถาสันถติกังคะ ถือการอยู่เสนาสนะตามที่ได้เป็นวัตร
หมวด ๔ วิริยปฏิสังยุตต์ ธุดงค์ที่เกี่ยวกับความเพียร
๑๓. เนสัชชิกังคะ ถือการนงั่ เป็นวัตร

แนวคำถาม
(ปี 2556) ธุดงค์ คืออะไร? มีกี่หมวด? หมวดไหนว่าด้วยเรื่องอะไร?
ตอบ คือ วัตตจริยาพิเศษอย่างหนึ่ง เป็นอุบายขัดเกลากิเลส และเป็นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ ฯ
มี ๔ หมวด ฯ ดังนี ้
หมวดที่ ๑ ว่าด้วยเรื่องจีวร
หมวดที่ ๒ ว่าด้วยเรื่องบิณฑบาต
หมวดที่ ๓ ว่าด้วยเรื่องเสนาสนะ
หมวดที่ ๔ ว่าด้วยเรื่องความเพียร ฯ
(ปี 2553) ธุดงค์ท่านบัญญัติไว้เพื่อประโยชน์อะไร ? ธุดงค์ที่ภิกษุถือได้มีกาหนดเฉพาะกาล คือข้อใด ? เพราะเหตุใด ฯ
ตอบ เพื่อเป็นอุบายขัดเกลากิเลส และเป็นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ ฯ
ข้อ รุกขมูลิกังคะ และ อัพโภกาสิกังคะ ฯ ธุดงค์ ๒ ข้อนภี ิ้กษุถือได้เฉพาะกาลนอกพรรษา เพราะในพรรษาภิกษุต้องถือเสนาสนะเป็นที่อยู่อาศัยประจา ตามพระวินัยนิยม ฯ
(ปี 2552) ธุดงค์ได้แก่อะไร การสมาทานธุดงค์ด้วยการฉันมอื ้ เดียวเป็นวัตรที่เรียกกันทวั่ ไปว่าฉันเอกาจัดเข้าในธุดงค์ข้อไหน? ตอบ ได้แก่ วัตตจริยาพิเศษอย่างหนึ่ง เป็นอุบายขัดเกลากิเลสและเป็นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ จัดเข้าในข้อเอกาสนิกังคะ คือถือนงั่ ฉัน ณ อาสนะเดียวเป็นวัตร ฯ
(ปี 2551) ธุดงค์ คืออะไร ? ข้อใดของปัจจัย ๔ ไม่มีในธุดงค์ ?
ตอบ คือ วัตตจริยาพิเศษอย่างหนงึ่ บัญญัติขึน้ ด้วยหมายจะให้เป็นอุบาย ขัดเกลากิเลส และเป็นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ ฯข้อ ยารักษาโรค ฯ
(ปี 2549) ธุดงค์ ท่านบัญญัติไว้เพื่อประโยชน์อะไร ? อารัญญิกังคธุดงค์ คือการถือปฏิบัติอย่างไร ?
ตอบ เพื่อเป็นอุบายขัดเกลากิเลส และเป็นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ ฯ   คือ การถืออยู่ป่ าเป็นวัตร หมายถึงการพักอาศัยปฏิบัติธรรมอยู่ในป่าหรือ บริเวณป่ าและจะต้องห่างจากบ้านคนอย่างน้อย๒๕ เส้น หรือ ๕๐๐ ชั่วธนู ฯ
(ปี 2548) คาว่าวัตรในธุดงควัตร หมายถึงอะไร ? ผู้ถือธุดงค์ข้อเตจีวริกังคะอย่างเคร่ง มีวิธีปฏิบัติอย่างไร ?
ตอบ หมายถึงข้อปฏิบัติพิเศษอย่างหนงึ่ ตามแต่ใครจะสมัครถือ บัญญัติขึน้ ด้วยหมายจะให้เป็นอุบายขัดเกลากิเลส และเป็นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ ฯ  มีวิธีปฏิบัติอย่างนี ้ใช้เฉพาะไตรจีวรของตนเท่านัน้ แม้จะซักหรือจะย้อมอันตรวาสก ย่อมใช้อุตตราสงค์นุ่ง และใช้สังฆาฏิห่ม ฯ
(ปี 2547) อัตตกิลมถานุโยค กับ การบาเพ็ญธุดงควัตร ต่างกันอย่างไร ? เตจีวริกังคธุดงค์ หมายความว่าอย่างไร ?
ตอบ ต่างกันอย่างนี ้ อัตตกิลมถานุโยค การทรมานตนให้ลา บากเพื่อให้บาปกรรมหมดไป เพราะการทรมานนัน้ หรือเพื่อบูชาพระเจ้า ซงึ่ เมื่อทราบแล้วจะทรงโปรดให้ประสบผลที่น่าปรารถนา ส่วนการบาเพ็ญธุดงควัตร บัญญัติขึน้ เพื่อจะให้เป็นอุบายขัดเกลากิเลสและเป็นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ ฯ  เตจีวริกังคธุดงค์ หมายถึง ธุดงค์ของภิกษุผู้ถือเตจีวริกังคะ ย่อมไม่ใช้จีวรผืนที่ ๔ นุ่งห่มเฉพาะไตรจีวรอันเป็นผ้าอธิษฐาน ฯ
(ปี 2546) ปังสุกูลิกังคะ องค์แห่งผู้ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร คืออย่างไร ?  ธุดงค์ข้อใด ที่ภิกษุสมาทานสา เร็จด้วยอิริยาบถ ๓ คือ ยืน เดิน นงั่ ?
ตอบ คือไม่รับจีวรจากทายก เที่ยวแสวงหาและใช้เฉพาะแต่ผ้าบังสุกุลมาเย็บย้อมทาจีวรใช้เอง ฯ  คือ เนสัชชิกังคะ องค์แห่งภิกษุผู้ถือการนงั่ เป็นวัตร ถือเฉพาะอิริยาบถ ๓ คือ ยืน เดิน และนงั่ เท่านัน้ ฯ
(ปี 2545) ในธุดงค์ ๑๓ นัน้ ธุดงค์ที่ถือได้เฉพาะกาลมีอะไรบ้าง ? การถือธุดงค์ ย่อมสา เร็จด้วยอาการอย่างไร ?
ตอบ ) รุกขมูลิกังคะ ถืออยู่โคนไม้เป็นวัตร ๒) อัพโภกาสิกังคะ ถืออยู่ในที่แจ้งๆ เป็นวัตร ฯ สาเร็จด้วยการสมาทาน คือด้วยอธิษฐานใจหรือแม้ด้วยเปล่งวาจา ฯ
(ปี 2543) ธุดงค์ ๑๓ ท่านกล่าวว่า เป็นวัตรจริยาพิเศษอย่างหนงึ่ ไม่ใช่ศีลนัน้ คืออย่างไร ? ธุดงค์นัน้ ท่านบัญญัติไว้เพื่ออะไร ?
ตอบ คือการสมาทานหรือข้อที่ถือปฏิบัติจาเพาะผู้สมัครใจจะพึงสมาทานประพฤตไิ ม่มีโทษ มีแต่ให้คุณแก่ผู้ถือปฏิบัติ ฯ เพื่อเป็นอุบายบรรเทาขัดเกลาและกาจัดกิเลส เป็นไปเพื่อความมักน้อยและสันโดษ เป็นต้น ฯ

หมวด ๑๕

จรณะ ๑๕ (ความประพฤติ) ข้อปฏิบัติที่จะนาไปสู่การบรรลุวิชชาหรือนิพพาน อันประกอบด้วย สีลสัมปทา ๑,
อปัณณกปฏิปทา ๓, สัปปุริสธรรม ๗ และ ฌาณ ๔
. สีลสัมปทา ความถึงพร้อมด้วยศีล ความเป็นผู้มีศีล
สีลสัมปทา ๑
บริสุทธิ์ ๒. อินทรีย์สังวร การสารวมในอินทรีย์ ๖
. โภชเนมัตตัญญุตา ความรู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร
.ชาคริยานุโยค หมนั่ ประกอบความเพียรด้วยการตื่นอยู่เสมอ
อปัณณกปฏิปทา ๓
. สัทธา ความเชื่อ
. หิริ ความละอายแก่ใจ
. โอตตัปปะ ความเกรงกลัวผิด
. พาหุสัจจะ ความเป็นผู้ได้ฟังมาก
, วิริยะ ความเพียร
๑๐. สติ ความระลึกได้
๑๑. ปัญญา ความรอบรู้
สัปปุริสธรรม ๗
๑๒. ปฐมฌาน
๑๓, ทุติยฌาน
๑๔. ตติยฌาน
๑๕. จตุตถฌาน
ฌาณ ๔

แนวคำถาม
(ปี 2557 และ 2553) บุคคลผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นพหูสูต เพราะประกอบด้วยคุณสมบัติอะไรบ้าง ?
ตอบ ประกอบด้วย
. พหุสฺสุตา ได้ยินได้ฟังมาก
. ธตา ทรงจาได้
. วจสา ปริจิตา ท่องไว้ด้วยวาจา
. มนสานุเปกฺขิตา เอาใจจดจ่อ
. ทิฏฺฐิยา สุปฏิวิทฺธา ขบด้วยทิฏฐิ ฯ
(ปี 2544) สัทธรรมในจรณะ ๑๕ คืออะไรบ้าง ?
พาหุสัจจะ ความเป็นผู้ได้ฟังมาก หมายถึงฟังอะไร ? ประกอบด้วยองค์เท่าไร ? อะไรบ้าง ?
ตอบ คือ สัทธา ความเชื่อ
หิริ ความละอายแก่ใจ
โอตตัปปะ ความเกรงกลัวผิด
พาหุสัจจะ ความเป็นผู้ได้ฟังมาก
วิริยะ ความเพียร
สติ ความระลึกได้
ปัญญา ความรอบรู้ ฯ
หมายถึงฟังธรรม ซงึ่ ไพเราะในเบอื ้ งต้น ไพเราะในท่ามกลาง ไพเราะในที่สุด ประกอบด้วยอรรถ ด้วยพยัญชนะ ประกาศ
พรหมจรรย์บริสุทธิ์บริบูรณ์สิน้ เชิง ฯ ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ
) พหุสฺสุตา ได้ยินได้ฟังมาก
) ธตา ทรงจาได้
) วจสา ปริจิตา ท่องไว้ด้วยวาจา
) มนสานุเปกฺขิตา เอาใจจดจ่อ

) ทิฏฺฐิยา สุปฏิวิทฺธา ขบด้วยทิฏฐิ ฯ